หน้าแรก

ภาษาอังกฤษ ม.ปลาย

Present time

    1. Present Simple Tense 

  Present Simple Tense คือ การพูดถึงเรื่องทั่วไป เรื่องที่ทำซ้ำ ๆ ในปัจจุบัน
2. รูปของ simple present และ present continuous
   - S + V.1 ถ้าประธานเป็นเอกพจน์บุรุษที่ 3 (He, She, It, The library, a dog, etc…) กริยาต้องเติม s/es
        - He drives a taxi.
        - She eats pizza.
        - I live in Bangkok.
    - S + Auxiliary Verb (กริยาช่วย) + V.1 (V.1 ไม่เติม s/es)
- She can play tennis.
- We must work hard.
3. Adverbs of Frequency: กริยาวิเศษณ์แสดงความถี่
  Adverbs of Frequency คือ กริยาวิเศษณ์แสดงความถี่ โดยเราจะนำ Adverbs of Frequency มาช่วยในการบ่งบอกถึงความบ่อยหรือความถี่ (how often) ของเหตุการณ์ต่างๆ ซึ่งคำเหล่านี้นั้นมีอยู่มากมาย โดยที่มักเห็นได้ทั่วไป นั่นก็คือ

alwaysเป็นประจำ, อย่างสมํ่าเสมอ
oftenบ่อยๆ
frequentlyบ่อยๆ
usuallyโดยปกติ
sometimesบางครั้ง
mostlyโดยส่วนใหญ่
normallyโดยปกติแล้ว
generallyโดยทั่วไป
repeatedlyซ้ำไปซ้ำมา
occasionallyในบางโอกาส
*seldomไม่ค่อยจะ, นานๆครั้ง
*hardlyแทบจะไม่
*barelyแทบจะไม่
*rarelyแทบจะไม่
*scarcelyแทบจะไม่
*neverไม่เคย


  *คำว่า seldom, hardly, barely, rarely, scarcely, never เป็นคำที่มีความหมายเป็นเชิงปฏิเสธอยู่แล้ว เราจึงไม่ควรทำให้ประโยคเป็นรูปปฏิเสธอีก เมื่อใช้คำเหล่านี้ เช่น I hardly cook. = ฉันแทบจะไม่เคยทำกับข้าวเลย และนอกจากคำเหล่านี้ยังมี Adverbs อีกมากมายที่สามารถนำมาใช้ในการบ่งบอกถึงความถี่ได้ เช่น

infrequentlyนานๆที
habituallyทำเป็นประจำจนเป็นนิสัย
chieflyโดยส่วนใหญ่
continuouslyติดต่อกัน, เรื่อยๆ
constantlyสม่ำเสมอ
commonlyโดยทั่วไป
regularlyสม่ำเสมอ
sporadicallyนานๆครั้ง
periodicallyเป็นบางครั้งบางคราว
intermittentlyเป็นพักๆ
spasmodicallyเป็นพักๆ
  และนอกจากคำเหล่านี้แล้ว ยังกลุ่มคำที่ผสมกันซึ่งสามารถแสดงถึงความถี่ได้ เช่น once a week, twice a day, every year และอื่นๆ

4. การเติม s ที่ท้ายคำ

  หลักการเติม s es มีดังนี้

     หากประธานเป็นเอกพจน์ กริยาเติม s,es ส่วนประธานพหูพจน์ไม่ต้องเติมนะครับ หลักการเติมมีดังนี้

1.เติม s หลังคำกริยาปกติทั่วๆ ไป เช่น
 at1
2. เติม es หลังคำหริยาที่ลงท้ายด้วย s, sh, ch, x,  z และ o เช่น
at2


  • - ถ้าลงท้ายด้วย -shes ให้ออกเสียง เช็ส ต่อท้าย แต่ ช ช้างออกเสียงคล้ายไล่ไก่
  • - ถ้าลงท้ายด้วย -ches ให้ออกเสียง เช็ส ต่อท้าย และช ช้างออกเสียงเหมือน ช ช้างของไทย
  • - ถ้าลงท้ายด้วย -ses   ให้ออกเสียง เซ็ส ต่อท้าย
  • - ถ้าลงท้ายด้วย -ses   ให้ออกเสียง เซ็ส ต่อท้าย
  • - ถ้าลงท้ายด้วย -zes ให้ออกเสียง เซ็ส ต่อท้าย แต่ต้องทำเสียงสั่น ๆ ในลำคอหน่อย

  • 5. คำกริยาที่ลงท้ายด้วย y มี 2 ประการ ดังนี้

  •   หน้า y เป็นสระ ( a , e , i , o , u ) ให้เติม s ได้เลย เช่น
  • at3
  • แต่หน้า y เป็นพยัญชนะ ให้เปลี่ยน y เป็น i แล้วเติม es เช่น
  • at4